ข้อมูลองค์กร
1 รายการ
ประวัติองค์กร
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หรือ Thailand Institute of Justice (TIJ) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านการวิจัยและการพัฒ...
Read Moreงานของเรา
3 รายการ
สรุปผลการเสวนา Launch Webinar of the Handbook on Restorative Justice Programmes
สรุปผลการเสวนา Launch Webinar of the Handbook on Restorative Justice Programmes Executive Summary รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อสรุปข้อคิดเห็นและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญด้านกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉ...
Read Moreครบรอบ 8 ปีข้อกำหนดกรุงเทพ
ครบรอบ 8 ปีข้อกำหนดกรุงเทพ: ก้าวต่อไปของการคืนคนดีสู่สังคม โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ข้อกำหนดกรุงเทพมีความเป็นมานานกว่า 8 ปี ริเริ่มจากวิสัยทัศน์ของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ซึ่งทรงเล็งเ...
Read MoreTIJ ดึงเจ้าหน้าที่ยุติธรรมร่วมคิดทางเลือกจำคุกผู้หญิง
เมื่อวันที่ 4 - 5 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมเซนทรา แอท เซนทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย หรือ TIJ จัดงานสัมมนาระดมสมองเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน และผู้เกี่ยวข้องจากหน่วยงานในกระบว...
Read Moreบทความ
5 รายการ
ถอดบทเรียน “การกระทำความผิดซ้ำ” สู่การส่งเสริมการ “ไม่ตีตรา” ผู้พ้นโทษ
“ในวงจรการก่ออาชญากรรม คนที่ออกไปแล้วไม่ทำผิดซ้ำ จะต้องมีเงิน มีงาน มีคนรัก ยอมรับและเห็นคุณค่าตัวเอง ไม่จำเป็นต้องเป็นครอบครัว แต่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ส่วนคนที่กลับเข้ามาก็คือตรงกันข้าม” ชลธิช ...
Read Moreสรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยมาตรการที่มิใช่การคุมขังในประเทศไทย
ในวันที่ 4 - 5 เมษายน 2565 ที่ผ่านมา สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ร่วมกับ สำนักงานป้องกัน อาชญากรรมและปราบปรามยาเสพติดแห่งสหประชาชาติ (UNODC) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยมาตรการที่มิ...
Read Moreก้าวพ้นเรือนจำ ลูกกรง และการเป็นนักโทษหญิง: อนาคตของมาตรการทางกฎหมายที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้หญิงที่กระทำผิด
ในสายตาของคนทั่วไปแล้ว “คุก” เป็นสถานที่ที่ช่วยชำระบาปให้กับผู้กระทำความผิดด้วยการลงทัณฑ์อย่างสาสม เพื่อที่จะแก้ ผิด ให้เป็น ถูก ได้ ความเชื่อนี้ดูจะไม่ได้เป็นเพียงมายาคติที่ปรากฏอยู่ในสังคม เพราะสถิต...
Read Moreผู้หญิงในคุก ชีวิตคนหรือสูตรสมการ?
“บางทีมาตรการที่ไม่ใช่การคุมขังอาจไม่ใช่แค่ทางเลือก แต่เป็นคำถามทางมนุษยธรรมขั้นพื้นฐาน ว่าเรามองมนุษย์เป็นตัวแปรในสมการ หรือมองมนุษย์เป็นมนุษย์ ที่หนทางชีวิตลดเลี้ยวเคี้ยวคด มีปัจจัยรายรอบมากมาย ใน...
Read Moreทางออกที่ไม่ใช่คุก : อนาคตของการใช้มาตรการที่มิใช่การคุมขังในประเทศไทย
เมื่อพูดถึงปัญหาคนล้นเรือนจำ หรือการคืนผู้พ้นโทษสู่สังคมอย่างมีคุณภาพ เรามักจะยังยึดโยงอยู่กับการพัฒนาคุก หรือพยายามเปลี่ยนทัศนคติของคนในสังคมที่มีต่อผู้พ้นโทษ แต่ขณะเดียวกันหากตั้งคำถามใหม่ว่า มีทางอ...
Read Moreวิดีโอ
4 รายการ
ปฏิทินกิจกรรม
1 รายการ
มกราคม, 2024
• หลักนิติธรรมมีความสำคัญอย่างไร ? • เหตุใดรัฐบาลจึงกำหนดให้การฟื้นฟูหลักนิติธรรมเป็นวาระแห่งชาติ ? • สถานการณ์หลักนิติธรรมในประเทศไทยในปี 2566 เป็นอย่างไร ? • หลักนิติธรรมเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั...
Read More