ข้อมูลองค์กร
3 รายการ
ประวัติองค์กร
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หรือ Thailand Institute of Justice (TIJ) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านการวิจัยและการพัฒ...
Read Moreสมาชิกเครือข่าย PNI
สถาบันเครือข่ายแผนงานสหประชาชาติด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (United Nations Programme Network Institutes – PNIs) เป็นสถาบันที่มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนข้อมูลเชิงวิชาการแก่คณะกรรมาธิก...
Read Moreยุทธศาสตร์และแผนงาน
“เชื่อมแนวทางปฏิบัติภายในประเทศให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติและบรรทัดฐานระหว่างประเทศและสหประชาชาติด้านการป้องกันอาชญากรรม ความยุติธรรมทางอาญา และหลักนิติธรรม” เพื่อนำไปสู่การสร้างความยุติธรรมที่เท่าเที...
Read Moreกรอบการดำเนินงาน
4 รายการ
TIJ Academy
TIJ Academy มุ่งสรรค์สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีคุณค่าสำหรับผู้กำหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติงานด้านความยุติธรรม ด้วยองค์ความรู้ระดับโลก ทักษะที่สนับสนุนการทำงานอย่างมีนวัตกรรม พร้อมทั้งแรงบันดาลใจจาก...
Read Moreการประสานงานนโยบาย
การปฏิบัติงานประสานงานนโยบายมีความรับผิดชอบหลักในการประสานความสัมพันธ์และเสริมสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในประเด็นว่าด้วยหลักนิติธรรม การพัฒนาอย่างยั่งยืน การป้องกันอาชญากรรม และกระบวนการยุติธรร...
Read Moreผู้หญิงและเด็กในระบบยุติธรรมทางอาญา
การสร้างความเท่าเทียมทางเพศและการขจัดความรุนแรงต่อเด็ก เป็นหนึ่งในแนวทางสำคัญเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และได้รับการกำหนดให้เป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ ค.ศ. 2030 ...
Read Moreความเชื่อมโยงอาชญากรรมและการพัฒนา
การทำงานด้านอาชญากรรมและการพัฒนามุ่งเป้าหมายเสริมบทบาทของ TIJ ในการเผยแพร่องค์ความรู้และสร้างความตระหนักรู้ถึงความเชื่อมโยงอาชญากรรมและการพัฒนา โดยนำเสนอข้อมูลที่ได้จากงานศึกษาวิจัยของ TIJ และการศึกษา...
Read Moreงานของเรา
68 รายการ
TIJ ร่วมประชุม CCPCJ ครั้งที่ 33 ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย
คณะผู้แทนสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) นำโดย ดร. พิเศษ สอาดเย็น ผู้อำนวยการสถาบันฯ ได้เข้าร่วมการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา หรือ United Nations Commi...
Read Moreอาเซียนถกประเด็น ‘ยุติธรรมทางอาญา’ หลังโควิด-19 ในเวที ACCPCJ ครั้งที่ 3
อาเซียนถกประเด็นเสริมแกร่ง ‘ยุติธรรมทางอาญา’ หลังฟื้นตัวโควิด-19 พร้อมดันเยาวชนเสนอแนวทางสู่โลกเมตาเวิร์ส ในเวที ACCPCJ ครั้งที่ 3 ตัวแทนประชาคมอาเซียนร่วมประชุมถกประเด็นหารือทางออก 3 ปัญหาหลักทางกร...
Read MoreTIJ เตรียมจัดประชุม ACCPCJ ครั้งที่ 3
หลายประเทศในภูมิภาคอาเซียนเห็นพ้องกันว่ากระบวนการยุติธรรมทางอาญากำลังเผชิญกับความท้าทายอย่างไม่เคยมีมาก่อนหลังเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของอาชญากรรมทางไซเบอร์ อุปสรรคในกา...
Read Moreเปิดตัว PNI Newsletter ฉบับแรก
เปิดตัว PNI Newsletter ฉบับแรก สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ร่วมกับ สถาบันป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิดของสหประชาชาติภาคพื้นเอเชียและตะวันออกไกล (UNAFEI) ประเทศญี่ปุ่น เปิ...
Read MoreTIJ จัดประชุมเตรียมการประชุม ACCPCJ ครั้งที่ 3
TIJ จัดประชุมเตรียมการประชุม ACCPCJ ครั้งที่ 3 สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย จัดการประชุมคณะที่ปรึกษาครั้งที่ 2 (Consultative Group Meeting - CGM) สำหรับการประชุมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันอาชญาก...
Read Moreบทความ
2 รายการ
ปัญหาอาชญากรรมทางเพศ: เมื่ออาชญากรมีภาพลักษณ์ดีแบบที่ใคร ๆ ก็ชื่นชม
คนแปลกหน้าท่าทางน่ากลัวที่แอบซุ่มมองเหยื่อจากมุมมืด คือ ภาพจำของคนทั่วไปเมื่อพูดถึงอาชญากรทางเพศ แต่จากงานวิจัยพบว่าประมาณ 91% ของผู้เสียหายคดีทางเพศในประเทศไทยรายงานว่า ผู้กระทำผิดเป็นคนที่รู้จักคุ้น...
Read Moreสรุปสารัตถะภาพรวมการประชุม ACCPCJ ครั้งที่ 3
การประชุมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ครั้งที่ 3 (The Third ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice หรือ 3rd ACCPCJ) ระหว่างวันที่ 22-24 สิงหาคม 2565 ที่กร...
Read Moreวิดีโอ
9 รายการ
ปฏิทินกิจกรรม
1 รายการ
กุมภาพันธ์, 2024
Training on Crime Prevention and Criminal Justice for Southeast Asia, T4SEA Join the first Training on Crime Prevention and Criminal Justice for Southeast Asia, T4SEA, organized ...
Read Moreแหล่งความรู้และสื่อสิ่งพิมพ์
5 รายการ