ศาลบำบัดยาเสพติด : แนวคิดทางเลือกแทนการจำคุกผู้เสพยา
เมื่อผู้ต้องขังส่วนใหญ่ในระบบเรือนจำเป็นผู้ต้องขังที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ศาลบำบัดยาเสพติดหรือศาลยาเสพติด (Drug Courts) จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นหนึ่งในมาตรการทางเลือกแทนการคุมขังที่เอื้อให้มีการบำบัดยาเสพติดแก่ผู้เสพติด ผ่านการควบคุมดูแลของศาล
รายละเอียดศิลปะในเรือนจำ - ทักษะสู่ก้าวใหม่ของผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษ
ศิลปะในเรือนจำ ทักษะสู่ก้าวใหม่ของผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษ งานศิลปะจากการฝึกอบรมทักษะที่แสดงสัญลักษณ์แห่งความหวัง ความกลัว และความยืดหยุ่นของผู้คนที่ผ่านกระบวนการยุติธรรม ในนิทรรศการ Personal Objects, Powerful Stories
รายละเอียดข้อกำหนดกรุงเทพ: ข้อกำหนดที่คุ้มครองถึงผู้หญิงที่ทำงานในราชทัณฑ์
ข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิง หรือข้อกำหนดกรุงเทพ ถือกำเนิดขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่าผู้หญิงในเรือนจำจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม ซึ่งรวมไปถึง “ผู้หญิงที่ทำงานในราชทัณฑ์”
รายละเอียดทางเลือก-ทางรอดระบบยุติธรรมไทย: แนวทางการส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมอย่างปกติสุข และการใช้มาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้หญิงในกระบวนการยุติธรรม
ปัญหาความแออัดในเรือนจำยังคงเป็นความท้าทายสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อระบบยุติธรรมไทยในหลายมิติ หนึ่งในแนวทางสำคัญที่สามารถช่วยลดปัญหาความแออัดในเรือนจำคือการนำมาตรการทางเลือกมาใช้แทนการคุมขัง และนำไปสู่การกลับคืนสู่สังคมได้อย่างปกติสุข
รายละเอียดข้อกำหนดกรุงเทพ : ข้อกำหนดสหประชาชาติที่ริเริ่มขึ้นเพราะผู้หญิงก็มีสิทธิที่เท่าเทียมกัน
รู้จักกับ “ข้อกำหนดกรุงเทพ” ข้อกำหนดที่จะทำให้ “ผู้หญิง” และกลุ่มเปราะบางอื่นๆ ในเรือนจำมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในโอกาสร่วมฉลองวันที่ 21 ธันวาคม 2567 ครบรอบ 14 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ
รายละเอียดเปิดข้อเสนอแนะแนวทางสร้างหลักนิติธรรมในประเทศไทย : TIJ RoLD Xcelerate (หลักนิติธรรมกับการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน ตอนที่ 3)
RoLD Xcelerate รวมกลุ่มผู้มีทัศนคติ แรงกาย และแรงใจที่จะร่วมกันพัฒนาหลักนิติธรรม หรือหลักการที่สังคมยอมรับและเคารพต่อการปฏิบัติตามกฎหมาย โดยกฎหมายที่ว่านั้นมีที่มาที่ชอบธรรม มีกระบวนการที่ถูกต้อง เป็นประชาธิปไตย มีรูปแบบที่เข้าถึงและเข้าใจได้ และต้องมุ่งคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพของประชาชน
รายละเอียด