ข้อมูลองค์กร
2 รายการ
ประวัติองค์กร
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หรือ Thailand Institute of Justice (TIJ) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านการวิจัยและการพัฒ...
Read Moreยุทธศาสตร์และแผนงาน
“เชื่อมแนวทางปฏิบัติภายในประเทศให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติและบรรทัดฐานระหว่างประเทศและสหประชาชาติด้านการป้องกันอาชญากรรม ความยุติธรรมทางอาญา และหลักนิติธรรม” เพื่อนำไปสู่การสร้างความยุติธรรมที่เท่าเที...
Read Moreกรอบการดำเนินงาน
2 รายการ
การอนุวัติข้อกำหนดกรุงเทพและมาตรฐานการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
การปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความแตกต่างทางเพศภาวะในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา นับเป็นประเด็นที่มีความสำคัญ ด้วยเหตุผลหลายประการ ในขณะที่ประชากรในเรือนจำทั่วโลกเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ประชากรในเรือนจำท...
Read Moreพัฒนาข้อมูลสถิติเพื่อการวิจัยและนโยบาย
หน่วยปฏิบัติการใหม่ของ TIJ จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 โดยมีภารกิจหลักในการสนับสนุนงานของ TIJ ด้วยการผลิตข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-based research...
Read Moreงานของเรา
108 รายการ
เปิดตัวนิทรรศการ "เลือน-จำ" ถ่ายทอดความสัมพันธ์ของเสรีภาพ ความทรงจำ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
TIJ ร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สนับสนุนนิทรรศการ “เลือน-จำ” โดยศูนย์วิจัยนวัตกรรมสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และ Mun Mun Arts Destination (MMAD) นิทรรศการ “เลือน-จำ...
Read MoreTIJ ร่วมประชุม CCPCJ ครั้งที่ 34
การประชุมคณะกรรมาธิการว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (CCPCJ) เป็นเวทีระหว่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทางและหารือเชิงนโยบายด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการป้องกันอาชญากร...
Read MoreTIJ เปิดตัวนิทรรศการที่ CCPCJ ครั้งที่ 34 ในโอกาสครบรอบ 15 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ
TIJ เปิดตัวนิทรรศการเรื่องราวของผู้หญิงในเรือนจำ ในโอกาสครบรอบ 15 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ ข้อกำหนดกรุงเทพ หรือข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้...
Read Moreเปิดตัวโครงการพัฒนาต้นแบบการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย (Pre-Release Model) ปี 2568
ปัญหาท้าทายของการคืนสู่สังคมของผู้พ้นโทษ คือทัศนคติที่ดีในการใช้ชีวิต มีคนสนับสนุน มีทักษะอาชีพ มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง มีงานทำ และมีรายได้ที่มั่นคง ปัจจัยเหล่านี้เป็นพื้นฐานสำคัญที่จะชี้ได้ว่าผู้พ้นโท...
Read Moreเปิดมุมมองใหม่ถึงผู้หญิงในเรือนจำ : ครบรอบ 15 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ
ตลอดระยะเวลา 15 ปี นับตั้งแต่การรับรองข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิง (ข้อกำหนดกรุงเทพ) เราได้เห็นทั้งความก้าวหน้าที่เกิดขึ้นในการ...
Read Moreบทความ
13 รายการ
ศิลปะในเรือนจำ - ทักษะสู่ก้าวใหม่ของผู้ต้องขังหญิงหลังพ้นโทษ
Personal Objects, Powerful Stories เรื่องเล่าจากสิ่งของในเรือนจำ “รูปวาดนี้เป็นรูปที่ฉันได้รับการฝึกอบรมทักษะวาดรูปจากเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงกลาง เพราะก่อนเข้ามาฉันไม่เคยวาดรูปได้ การวาดรูปทำให้ฉัน...
Read Moreข้อกำหนดกรุงเทพ: ข้อกำหนดที่คุ้มครองถึงผู้หญิงที่ทำงานในราชทัณฑ์
ในสภาพแวดล้อมของเรือนจำที่มีลำดับชั้นและถูกครอบงำโดยผู้ชาย เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์หญิงอาจต้องเผชิญกับการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม รวมถึงการเลือกปฏิบัติ โดยบ่อยครั้งพวกเธอมีอำนาจและบทบาทในการตัดสินใจที่น้อยก...
Read Moreทางเลือก-ทางรอดระบบยุติธรรมไทย: แนวทางการส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมอย่างปกติสุข และการใช้มาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผ...
ทางเลือก-ทางรอดระบบยุติธรรมไทย: แนวทางการส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมอย่างปกติสุข และการใช้มาตรการที่มิใช่การคุมขังที่สนองตอบต่อความต้องการทางเพศสภาวะของผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม ...
Read Moreข้อกำหนดกรุงเทพ : ข้อกำหนดสหประชาชาติที่ริเริ่มขึ้นเพราะผู้หญิงก็มีสิทธิที่เท่าเทียมกัน
ข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิง หรือข้อกำหนดกรุงเทพ ถือกำเนิดขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่าผู้หญิงได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมไ...
Read Moreข้อกำหนดกรุงเทพเปิดทางช่วยผู้ต้องขังหญิงทั่วโลก
ข้อกำหนดกรุงเทพ หรือข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิง เป็นมาตรฐานสหประชาชาติฉบับแรกในโลกที่มุ่งดูแลความต้องการเฉพาะของเพศหญิง ท...
Read Moreวิดีโอ
30 รายการ
ปฏิทินกิจกรรม
7 รายการ
พฤษภาคม 2025
พฤษภาคม 2025 19-23 พฤษภาคม 2025 สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) เข้าร่วมการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา หรือ United Nations Commission on Crime Preve...
Read Moreมีนาคม 2567
นิทรรศการ "กลางวันแสกๆ" และงานเสวนา "เปิดข้อมูลภาครัฐ ปลดล็อคอำนาจประชาชน" TIJ Common Ground ขอเชิญชวนทุกท่านชม นิทรรศการ "กลางวันแสก ๆ" (In Broad Daylight) นิทรรศการที่นำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริ...
Read Moreเมษายน 2024
เวทีสาธารณะด้านหลักนิติธรรม (The Rule of Law Forum) ครั้งที่ 2 "From Abstract Theory to Tangible Actions: Strategies for Effective Rule of Law Reform" กลไกภาคประชาชนมีความสำคัญ ต่อการขับเคลื่อนหลั...
Read Moreกุมภาพันธ์, 2024
Training on Crime Prevention and Criminal Justice for Southeast Asia, T4SEA Join the first Training on Crime Prevention and Criminal Justice for Southeast Asia, T4SEA, organized ...
Read Moreมกราคม, 2024
• หลักนิติธรรมมีความสำคัญอย่างไร ? • เหตุใดรัฐบาลจึงกำหนดให้การฟื้นฟูหลักนิติธรรมเป็นวาระแห่งชาติ ? • สถานการณ์หลักนิติธรรมในประเทศไทยในปี 2566 เป็นอย่างไร ? • หลักนิติธรรมเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั...
Read Moreข้อมูลสถิติกระบวนการยุติธรรม
1 รายการ
แหล่งความรู้และสื่อสิ่งพิมพ์
10 รายการ
Global Prison Trends 2024
รายงานประจำปีนี้จัดทำร่วมกันระหว่างสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) และองค์กร Penal Reform International (PRI) โดยไฮไลท์ที่รายงานพิเศษ "In Focus" ซึ่งเจาะลึกเรื่องแรงงานในเรือนจำ ทั้งในแง่ของ...
Read More