กรอบการดำเนินงาน
1 รายการ
ความเชื่อมโยงอาชญากรรมและการพัฒนา
การทำงานด้านอาชญากรรมและการพัฒนามุ่งเป้าหมายเสริมบทบาทของ TIJ ในการเผยแพร่องค์ความรู้และสร้างความตระหนักรู้ถึงความเชื่อมโยงอาชญากรรมและการพัฒนา โดยนำเสนอข้อมูลที่ได้จากงานศึกษาวิจัยของ TIJ และการศึกษา...
Read Moreงานของเรา
39 รายการ
TIJ ร่วมประชุม CCPCJ ครั้งที่ 34
การประชุมคณะกรรมาธิการว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (CCPCJ) เป็นเวทีระหว่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทางและหารือเชิงนโยบายด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการป้องกันอาชญากร...
Read Moreเปิดตัวโครงการพัฒนาต้นแบบการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย (Pre-Release Model) ปี 2568
ปัญหาท้าทายของการคืนสู่สังคมของผู้พ้นโทษ คือทัศนคติที่ดีในการใช้ชีวิต มีคนสนับสนุน มีทักษะอาชีพ มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง มีงานทำ และมีรายได้ที่มั่นคง ปัจจัยเหล่านี้เป็นพื้นฐานสำคัญที่จะชี้ได้ว่าผู้พ้นโท...
Read MoreWalls to Welcome สถาปัตยกรรมเพื่อผู้พ้นโทษ
“สำหรับผู้ที่เคยกระทำความผิดรุนแรง เมื่อพ้นโทษแล้ว เมื่อชดใช้ความผิดที่ได้กระทำลงไปตามคำพิพากษาแล้ว แต่ได้รับการประเมินว่า อาจยังมีโอกาสที่จะกลับไปกระทำความผิดอีก ... พวกเขาควรไปอยู่ที่ไหน” เมื่อมีบ...
Read MoreTIJ ขับเคลื่อนการดำเนินงานด้วยคุณธรรมและความโปร่งใส ปี 2568
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หรือ TIJ ในฐานะหน่วยงานภาครัฐ ที่มีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบในการดูแลผู้กระทำความผิดทั้งในเรือนจำและในชุมชนที่ช่วยลดการกระทำผิดซ้ำได้อ...
Read MoreTIJ-ศาลยุติธรรมร่วมมือด้านวิชาการประเมินประสิทธิภาพ “คลินิกจิตสังคม”
TIJ-ศาลยุติธรรมร่วมมือด้านวิชาการประเมินประสิทธิภาพ “คลินิกจิตสังคม” เพื่อผู้ต้องหาหรือจำเลยคดียาเสพติดในระบบศาล คลินิกจิตสังคม หรือโครงการ “พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาด้านจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่...
Read Moreบทความ
2 รายการ
ถอดบทเรียน “การกระทำความผิดซ้ำ” สู่การส่งเสริมการ “ไม่ตีตรา” ผู้พ้นโทษ
“ในวงจรการก่ออาชญากรรม คนที่ออกไปแล้วไม่ทำผิดซ้ำ จะต้องมีเงิน มีงาน มีคนรัก ยอมรับและเห็นคุณค่าตัวเอง ไม่จำเป็นต้องเป็นครอบครัว แต่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ส่วนคนที่กลับเข้ามาก็คือตรงกันข้าม” ชลธิช ...
Read Moreเรียน สังคมและผู้ทรงอำนาจที่รัก: การยุติการกระทำผิดซ้ำไม่ใช่ภาระของอดีตผู้กระทำผิดเพียงคนเดียว โปรดอย่าทอดทิ้งเธอ
ประเด็นสำคัญ: การนำพาผู้หญิงที่เคยโดนจองจำกลับสู่สังคม จะสำเร็จได้ต่อเมื่อมีการวางแผน ทำความเข้าใจความต้องการและประสบการณ์ชีวิตของผู้หญิงแต่ละคน ตั้งแต่สภาพสังคม เงื่อนไขชีวิตที่ผลักให้เธอต้องเผชิญหน้...
Read Moreแหล่งความรู้และสื่อสิ่งพิมพ์
1 รายการ